การจัดเครื่องไทยธรรมถวายพระ
- เครื่องไทยธรรม คือ วัตถุสิ่งของต่าง ๆ ที่สมควรถวายพระสงฆ์ ได้แก่ ปัจจัย ๔ และสิ่งของที่นับเนื่องในปัจจัย ๔
- สิ่งของที่ประเคนพระได้ในเวลาช่วงเช้าถึงเที่ยง ได้แก่อาหารคาวหวานทุกชนิด ทั้งอาหารสด อาหารแห้ง และอาหารเครื่องกระป๋องทุกประเภท (หากนำสิ่งของเหล่านี้ไปถวาย ในเวลาหลังเที่ยงแล้วไม่ต้อง ประเคน เพียงแต่แจ้งให้พระรับทราบแล้วมอบให้ศิษย์ เก็บรักษาไว้จัดทำถวายในวันต่อไป)
- สิ่งของที่ประเคนพระได้ตลอดเวลา ได้แก่ ประเภทเครื่องดื่ม เครื่องยารักษาโรค และประเภท
- เครื่องไทยธรรม คือ วัตถุสิ่งของต่าง ๆ ที่สมควรถวายพระสงฆ์ ได้แก่ ปัจจัย ๔ และสิ่งของที่นับเนื่องในปัจจัย ๔
- สิ่งของที่ประเคนพระได้ในเวลาช่วงเช้าถึงเที่ยง ได้แก่อาหารคาวหวานทุกชนิด ทั้งอาหารสด อาหารแห้ง และอาหารเครื่องกระป๋องทุกประเภท (หากนำสิ่งของเหล่านี้ไปถวาย ในเวลาหลังเที่ยงแล้วไม่ต้อง ประเคน เพียงแต่แจ้งให้พระรับทราบแล้วมอบให้ศิษย์ เก็บรักษาไว้จัดทำถวายในวันต่อไป)
- สิ่งของที่ประเคนพระได้ตลอดเวลา ได้แก่ ประเภทเครื่องดื่ม เครื่องยารักษาโรค และประเภท
เภสัช เช่น น้ำตาล น้ำผึ้ง น้ำอ้อย หมากพลู ฯลฯ หรือสิ่งของไม่ใช่สำหรับขบฉัน
- สิ่งของที่ไม่สมควรประเคนพระได้แก่ เงินและวัตถุสำหรับใช้แทนเงิน เช่น ธนบัตร
- สิ่งของที่ไม่สมควรประเคนพระได้แก่ เงินและวัตถุสำหรับใช้แทนเงิน เช่น ธนบัตร
(ในการถวาย ควรใช้ใบปวารณาแทนตัวเงินส่วนตัวเงินมอบไว้แก่ไวยาวัจกรของพระ นั้น)
- ถ้าเป็นชาย ยกส่งให้ถึงมือพระ ถ้าเป็นหญิง วางถวายบนผ้าที่พระทอด รับประ เคน หรือ
นั่งคุกเข่าประเคนตามความเหมาะสม
- ถ้าพระสงฆ์นั่งกับพื้น พึงนั่งคุกเข่าประเคน ถ้าพระสงฆ์นั่งเก้าอี้ พึงยืนหรือนั่ง คุกเข่าประเคน
- ภัตตาหารทุกชนิดที่ประเคนแล้ว ห้ามคฤหัสถ์จับต้องอีก ถ้าเผลอไปจับต้องประเคนใหม่ ลักษณะการประเคนที่ถูกต้อง ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ
๑. สิ่งของที่จะประเคนไม่ใหญ่โตหรือหนักเกินไป ขนาดคนปานกลางคนเดียวยกได้
- ถ้าพระสงฆ์นั่งกับพื้น พึงนั่งคุกเข่าประเคน ถ้าพระสงฆ์นั่งเก้าอี้ พึงยืนหรือนั่ง คุกเข่าประเคน
- ภัตตาหารทุกชนิดที่ประเคนแล้ว ห้ามคฤหัสถ์จับต้องอีก ถ้าเผลอไปจับต้องประเคนใหม่ ลักษณะการประเคนที่ถูกต้อง ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ
๑. สิ่งของที่จะประเคนไม่ใหญ่โตหรือหนักเกินไป ขนาดคนปานกลางคนเดียวยกได้
และต้องยกสิ่งนั้นพ้นจากพื้นที่สิ่งของนั้นตั้งอยู่
๒. ผู้ประเคนอยู่ห่างจากพระประมาณ ๑ ศอก เป็นอย่างมาก (ไม่เกิน ๒ ศอก)
๓. ผู้ประเคนน้อมสิ่งของเข้าไปด้วยกิริยาอาการแสดงความเคารพอ่อนน้อม
๔. กิริยาอาการที่น้อมสิ่งของเข้าไป จะส่งด้วยมือก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกาย เช่น ใช้ทัพพีตักถวาย ฯลฯ ก็ได้
๕. พระผู้รับประเคนนั้น จะรับด้วยมือก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกาย เช่น จะใช้ผ้าทอดรับ
๒. ผู้ประเคนอยู่ห่างจากพระประมาณ ๑ ศอก เป็นอย่างมาก (ไม่เกิน ๒ ศอก)
๓. ผู้ประเคนน้อมสิ่งของเข้าไปด้วยกิริยาอาการแสดงความเคารพอ่อนน้อม
๔. กิริยาอาการที่น้อมสิ่งของเข้าไป จะส่งด้วยมือก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกาย เช่น ใช้ทัพพีตักถวาย ฯลฯ ก็ได้
๕. พระผู้รับประเคนนั้น จะรับด้วยมือก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกาย เช่น จะใช้ผ้าทอดรับ
ใช้บาตรรับ หรือ ใช้ภาชนะรับ ฯลฯ ก็ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น